วันจันทร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์
เครื่องมือหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทำงานด้วยคำสั่ง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่างๆ สามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ
ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์
ฮาดร์แวร์ หมายถึง ส่วนประกอบที่ของคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ 5 ส่วนคือ
1. หน่วยรับข้อมูลเข้า Input Unit
-แป้นอักขระ  Keyboard
-แผ่นซีดี  CD-Rom
-ไมโครโพน Mierophone เป็นต้น
2. หน่วยประมวลผลกลาง CPU (Central Processing Unit)
     ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวนที่ทำทางตรรกะและคณิตศาสตร์
รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ
3. หน่วยความจำ Memory Unit
    ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูล
เพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลว่าหน่วยประมวลผลกลางและเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล
แล้วเตรียมส่งไปย้ายหน่วยแสดงผล
4. หน่วยแสดงผล Output Unit
         ทำหน้าที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ดำเนินการประมวลผล หรือผ่านการคำนวลแล้ว
5. อุปกรณต่อฟังก์ชั่น Peripheral Equipment
     เป็นอุปปกรณ์ที่นำมาต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์
เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้นเช่น โมเดิม (Modem)
แผงวงจรเชื่อมต่อกับเครือข่าย

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
1. มีความเร็วในการทำงาน
2. มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง
3. มีความถูกต้องแม่นยำ
4. เก็บข้อมูลได้มาก
5. สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีก้ครื่องหนึ่งได้

ระบบคอมพิวเตอร์
  ระบบคอมพิวเตอร์ หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอร์ทำการใดๆ กับข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบ
ที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช่งานให้มากที่สุด เช่น ระบบเสียภาษี
ระบบทะเบียนราษฎร์

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
1. ฮาร์ดแวร์
2. ซอฟแวร์
3. ข้อมูล
4. บุคคลากร

ฮาร์ดแวร์  ส่วนที่สำคับ  4 ส่วน
1. ส่วนประมวลผล
2. ส่วนความจำ
3. อุปกรณ์รับเข้า/ส่งออก
4. อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูล

CPU ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์
แปลข้อมูลดิบ และนำกับมาใช่ได้ประโยชน์
1 GHz จิกะเฮิร์ดซ์

ส่วนที่ 2   หน่วยความจำ  Memory
จำแนกออกเป็น 3 ประเภท
1. หน่วยความจำหลัก
2. หน่วยความจำลอง
3. หน่วยเก็บข้อมูล

1. หน่วยความจำหลัก  แบ่งได้ 2
1.1 หน่วยความจำแบบ "แรม"
     RAM = Random Access Memory
  ต้องการไฟฟ้าในการจัดเจ็บข้อมูลจนกว่าเราจะเปิดเครื่อง
1.2 หน่วยความจำแบบ "รอบ"
     ROM = Read only Memory
เป็นหน่วยความจำแบบที่ไม่ลบเลือน

2. หน่วยความจำสำรอง
  มีไว้สำหลับสำรอง เช่น Herd Disk   CD-Rom   Floppy Disk
2. หน่วยความจำสำรอง
  มีไว้สำหลับสำรอง เช่น Herd Disk   CD-Rom   Floppy Disk
หน่วยความจำสำรองเป็นหน่วยเก็บสามารถรักษาข้อมูลได้ตลอดหลังจากปิดเครื่อง
หน่วยความจำสำรองมีหน้าที่
1. ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือสำรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
2. ใช้เก็บาข้อมูลอย่างถาวร
3.ใช้เป็นสื่อส่งผ่านข้อมูล

ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำจะแก้ปัญหาการสูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผลเมื่อเรียบร้อยแล้วความจำหลักประเภทแรมหากปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้าหน่วยความจำสำรองแบบแฟลช หน่วยความจำรองนี้ถึงจะไม่มีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์แต่คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ปกติ

ส่วนแสดงผลข้อมูล
ส่วนแสดงผลข้อมูล คือส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางรูปแบบสามารถเข้าใจด้ อุปกรณาที่แสดงผลข้อมูลได้แก่  จอภาพ เครื่องพิมพ์  ลำโพง

บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมเตอร์ หมายถึง คนที่มีความรู้สามารถในการใช้หรือควบคุมให้เป็นอย่างราบรื่น

ประเภทบุคลากรทางคอมพิวเตอร์
1. ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2.ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3. ฝ่ายปฎิบัติงานเครื่องและบริการ

บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
1. หัวหน้างานคอมพิวเตอร์
2.หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์วางแผนระบบ
3.โปรแกรมเมอร์
4.ผู้ควบคุมระบบคอมพิวเตอร์
5.พนักงานจัดเตรียมข้อมูล
- นักวิเคราะห์ระบบงาน
ทำการศึกษาระบบเดิม
-โปรแกรมเมอร์
นำงานระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบออกแบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรม
-วิศวกรระบบ
ทำหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อมบำรุง และดูแลรักษา
-พนักงานปฎิบัติการ
ทำหน้าที่เกี่ยวกับระบบดูแลรักษา

2.ตัวแปรภาษา
การพัฒนาซอฟแวร์ต้องอาศัยกสรแปลภาษาระดับสูงให้เป้นภาษาเครื่อง
ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสามารถสร้างขึ้นให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดดำคำสั่งเข้าใจง่ายและเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟแวร์ในภายหลังได้

ซอฟต์แวร์ประยุกต์
2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์เพื่อนใช้ทำงานเฉพาะด้านเช่นการจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนอรายงาน การจัดการบัญชี  การตกแต่งภาพ การออกแบบเว็บไซต์ ป็นต้น
                                          
ประเภทของซอฟแวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิต จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ
2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่ว(package)ไปมีโรแกรมเฉพาะ(customized package )และ โปรแกรมมาตฐาน (standard package)

ประเภทของซอฟแวร์ประยุกต์
แบ่งตามกลุ่มการาใช้งาน จำแนกได้ 3 กลลุ่มใหญ่
1. กล่มการใช้งานด้านธุรกิจ
2.กล่มการใช้งานด้านกราฟฟิกและมัลติมีเดีย
3.กล่มการใช้งานด้านใช้งานบนเว็บ

กล่มการใช้งานด้านธุรกิจ
ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังให้การทำงานมีประสิทธิภาพมาขึ้น เช่นการจัดพิมพ์รายงานเอกสาร และการบันทึกนัดหมายต่างๆ
ตัวอย่าง เช่น โปรแกรมประมวลผปล อาทิ microsoft word; sun
โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ coreldraw
โปรแกรมตัดต่อ วีดีโอและเสียง อาทิ adode premiere,pinnacle studio dv
โปรแกรมสร้างสื่อมัติมิเดีย อาทิ Adode authorware,
โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ adode flash,adode  Dreamweaver

กล่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
เมื่อเกิดการเติบโตของเครื่อข่ายอินเทอร์เน็ตซอฟแวร์กล่มนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมการตรวจเช็คอีเมลการท่องเว็บไซต์การจัดการดูแลเว็บ
โปรแกรมส่งข้อความด่วน
โปรแกรมสนทนาบนอินเทอร์เน็ต


ความจำเป็นของการใช้ซอฟแวร์
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร

ซอฟแวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบคอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว

ภาษาเเอสเซมบลี
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่องภาษาแอสเซมบลีช่วยการเขียนโปรแกรมที่มันยุ่งยากในการเขียนคอมพิวเตอร์
แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบรีก็ยังมีความใกล้เคียงภาษา

ภาษาระดับสูง
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุกที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า statements  ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งให้คอม พิวเตอร์ ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้และ เขียยนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
คอมไพเลอร์ และ อินเอร์พรีเตอร์

คอมไพเลอร์ จะทำหการแปลโปรแกรมที่มีเขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้ป็นภาษาเครื่องก่อนแล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานเครื่องก่อน

อินเอร์พรีเตอร์
 จะทำหน้าที่การ้เปลี่ยนแปลงทีละคำสั่งแล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่ง

องค์ประกอบของเครือข่าย

ฮาร์ดแวร์

คอมพิวเตอร์
เซอร์
ฮับ
บริด
เราท์เตอร์
เกตเวย์
โมเดม
เน็ตเวอร์การ์ด

ซอฟต์แวร์
โปรปกรมประยุกต์
โปรแกรมปฏิบัติการ

ตัวนำข้อมูล
สายโคแกเซียล
สายคู่บิดเกลียวหุ้มฉงวน

เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
การทำงานของระบบ network และ Internet

โครงสร้างของเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
1. เคนรื่อข่ายเฉพราะที่
เป็นเครื่อข่ายที่มักพบเห็นกันในองค์กรโดยเฉพราะองค์กรใหญ่
2. เครื่อข่ายเมือง
ป็นกลุ่มเครื่อข่ายมี่นำมาเชื่อมต่กัน
3.เครื่อข่ายบริเวณกว้าง
เป็นเครื่อข่ายใหญ่ขึ้นเป็นอีกระดับหนึ่งโดยเป็นการร่วมเครื่อข่ายทั้ง lan และ man มาเชื่อมกันเป็นเครื่อข่ายเดียวกัน

การทำงานของระบบ  networkและ Internet
รูปแบบโครงสร้างของเครื่อข่าย
การจัดระบบการทำงานของเครื่อข่ายมีรูปแบบโครงสร้างของเครื่อข่าย อันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์และการเดินสายสัญญาณอันคอมาพิวเตอร์ในเครื่อข่าย


ลักษณะการทำงานของเครื่อข่ายแบบดาว
เป็นการเชื่อมโยงการติดต่อสื่อสารที่มีลักษณะคล้ายรูปดาวหลายแฉกโดยมีสถานีกลางหรือฮับจุดติดต่อกัน

3. เครื่อข่ายแบบบัส เป็นเครื่อข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆด้วยสายเคโดยจะมีอุปกรณ์เข้ากับสายเคเบิ้ลในการส่งข้อมูล

4. แบบต้นไม้ เป็นเครื่อจ่ายที่ทีการผสมผสานโครงสร้าง

การประยุกต์ใช้งานของระบบเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
รูปแบบการใช้งานของระบบเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครื่อข่ายแบ่งตามลักษณะการทำงานได้เป็น 3ประเภท
1. ระบบข่ายแบบร่วมศูนย์กลาง
 2. ระบบเครื่อข่าย
3. ระบบเครือข่ายแบบ
ระบบ client/serverสามารถสนับสนุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป็นจำนวนมากและสามารถเชื่อม่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ให้หลายสถานี

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น